ปี 2548 “สู่สังคมสมานฉันท์”

วันที่2005

กลุ่มที่ 1 ความสมานฉันท์บนความแตกต่างทางวัฒนธรรม และชาติพันธุ์

1. Maintaining Peace in a Neighborhood Torn by Separatism: The Case of Satun Province in Southern Thailand Icon_PDF
By Thomas I. Parks

2. “ลาว” ในทัศนะของไทย Icon_PDF
โดย ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ

3. เจ๊กและแขกกับสังคมไทย: พินิจปัญหาคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูจากประสบการณ์คนไทยเชื้อสายจีน Icon_PDF
โดย เกษียร เตชะพีระ

กลุ่มที่ 2 ความสมานฉันท์ภายใต้ความเหลื่อมล้ำในสังคม

1. ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจกับความขัดแย้งในสังคม: ทฤษฎี ประสบการณ์ และแนวทางสมานฉันท์ Icon_PDF
โดย สมชัย จิตสุชน, ธิดา อินทรโชติ และ ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์

2. บทบาทของชุมชนในการสร้างความสมานฉันท์ภายใต้ความเหลื่อมล้ำและบริบทที่เปลี่ยนไปในสังคม Icon_PDF
โดย กิติศักดิ์ สินธุวนิช

3. สร้างความสมานฉันท์บนความขัดแย้งที่ซ่อนเร้น กรณีศึกษาโครงการบ้านมั่นคง และผู้ประสบภัยสึนามิ Icon_PDF
โดย สมสุข บุญญะบัญชา และ พรรณทิพย์ เพชรมาก

กลุ่มที่ 3 การดูแลปัญหาความขัดแย้งในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

1. ความขัดแย้งในการบริหารจัดการที่ดิน Icon_PDF
โดย โสภณ ชมชาญ

2. การเมืองเรื่องป่าชุมชนบนเส้นทางสมานฉันท์ Icon_PDF
โดย เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์

3. กลไกภาครัฐในการลดความขัดแย้ง กรณีปัญหาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ Icon_PDF
โดย ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ และ พิพัฒน์ กัญจนพฤกษ์

4. ความขัดแย้งในการจัดการน้ำภาคตะวันออก: กรณีศึกษาจังหวัดระยอง Icon_PDF

ความขัดแย้งเรื่องน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาฝายหัวนา จ.ศรีสะเกษ Icon_PDF

5. ความขัดแย้งการจัดการน้ำภาคเหนือ: สู่สังคมสมานฉันท์ Icon_PDF
โดย มนตรี จันทวงศ์

6. กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรน้ำโดยชุมชน : บทเรียนจากลุ่มน้ำแม่ตาช้าง Icon_PDF
โดย ชัยพันธุ์ ปะภาสะวัต

7. ปัญหาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง: กรณีศึกษาจังหวัดตรัง Icon_PDF
โดย โครงการเสริมสร้างจิตสำนึกนิเวศวิทยา

8. รายงานสถานการณ์และการแก้ไขน้ำท่วมเมืองเชียงใหม่ปี 2548 Icon_PDF
โดย สมนึก ชัชวาลย์

กลุ่มที่ 4 การประสานความขัดแย้งในด้านแรงงานของไทย

1. แรงงานที่ไม่มีสัญชาติไทยในสังคมสมานฉันท์ Icon_PDF
โดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

2. สิทธิแรงงานในกระแสโลกาภิวัตน์พัฒนา Icon_PDF
โดย บัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ

3. การปฏิรูปการแรงงานสัมพันธ์ไทย : การจัดการระบบทวิภาคี ไตรภาคี และ พหุภาคี ณ ระดับชาติ ระดับกลาง และระดับสถานประกอบการ Icon_PDF
โดย โชคชัย สุทธาเวศ

4. สมานฉันท์แรงงาน-บทบาทและสถานภาพของแรงงานสตรีไทย Icon_PDF
โดย ผศ.ดร. พิมลพรรณ อิศรภักดี

5. การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์กับกลุ่มชนตามแนวชายแดนและแรงงานต่างด้าว Icon_PDF
โดย รศ.ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และ สุปราณี เชยชม

กลุ่มที่ 5 ระบบค่านิยมของคนไทยกับการสร้างสังคมสมานฉันท์

1. ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อปัญหาของประเทศ สาเหตุและมาตรการลงโทษ Icon_PDF
โดย ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์

2. วิเคราะห์ทัศนคติของคนไทยต่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคม Icon_PDF
โดย พวงทอง ภวัครพันธุ์ และ สุรัตน์ โหราชัยกุล

3. “สังคมสมานฉันท์” ในแบบเรียน Icon_PDF
โดย วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์

4. ภาพตัวแทนและความสมดุลในรายการข่าวโทรทัศน์กับบทบาทในการสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย Icon_PDF
โดย โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม