กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงในเชิงเศรษฐศาสตร์ และสังคม
เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงกับการวิเคราะห์ความหมายของนักเศรษฐศาสตร์
โดย อภิชัย พันธเสน
กลุ่มที่ 3 แนวทางปฏิบัติทางด้านการตัดสินใจที่พอประมาณและมีเหตุผล
1. พฤติกรรมที่ไม่พอเพียงกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ
โดย สมชัย จิตสุชน
2. บทบาทของข้อมูลเศรษฐกิจและสังคมกับเศรษฐกิจพอเพียง
โดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กลุ่มที่ 4 แนวทางปฏิบัติทางด้านการพัฒนาการเกษตรและชุมชน
1. ความเสี่ยงและภูมิคุ้มกันในภาคเกษตรกรรมของไทย
โดย วิโรจน์ ณ ระนอง
2. ทฤษฎีใหม่: มุมมองทางเศรษฐศาสตร์
โดย อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
3. บทสำรวจความคิดความเข้าใจและการปฏิบัติตามแนวทฤษฎีใหม่
โดย ชนิกา เจริญวงษ์
กลุ่มที่ 5 แนวทางปฏิบัติทางด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ
1. การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดย สันติ บางอ้อ และคณะ
2. บรรษัทภิบาลกับเศรษฐกิจพอเพียง
โดย เดือนเด่น นิคมบริรักษ์
3. การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยกับแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นิพนธ์ พัวพงศกร
กลุ่มที่ 6 แนวทางปฏิบัติทางด้านโครงสร้างการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ
1. การปฏิบัติตามแนว “เศรษฐกิจพอเพียง” ด้านการค้าระหว่างประเทศ
โดย ณัฏพงศ์ ทองภักดี และคณะ
2. แนวคิดการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงกับโครงสร้างการผลิตที่เหมาะสม
โดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กลุ่มที่ 7 แนวทางปฏิบัติทางด้านตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
1. ภูมิคุ้มกันต่อความผันผวนของเงินทุนจากต่างประเทศ
โดย ปกรณ์ วิชยานนท์ และยศ วัชระคุปต์
2. กรอบนโยบายการเงิน Inflation Targeting กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดย สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
เอกสารเพิ่มเติมในระหว่างการประชุม:
2. คำกล่าวเปิดงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2542
โดย คุณอานันท์ ปันยารชุน
3. Presentation ประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2542
5. The New Theory from an Economic Viewpoint
โดย Adis Israngkura Na Ayuthaya