ปี 2549 “สู่หนึ่งทศวรรษหลังวิกฤตเศรษฐกิจ: ได้เรียนรู้และปรับปรุงอะไรบ้าง?”

หน่วยงานมูลนิธิชัยพัฒนา ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน และสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
วันที่2006-12-09
สถานที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี

การร่วมอภิปรายโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในหัวข้อ “สู่หนึ่งทศวรรษหลังวิกฤตเศรษฐกิจ : ได้เรียนรู้และปรับปรุงอะไรบ้าง?”
ประธาน: ดร. อำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ผู้ร่วมอภิปราย:
ดร. ธาริษา วัฒนเกส
ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ดร. โคทม อารียา
ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม
รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อร่วมระดมความคิด โดยแยกเป็น 4 กลุ่มย่อย

กลุ่มที่ 1

การปรับปรุงการบริหารเศรษฐกิจในระดับมหภาค
ประธานกลุ่ม: ดร. ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ผู้ร่วมอภิปราย:
1. หัวข้อ “พัฒนาการของนโยบายการเงินไทยในทศวรรษที่ผ่านมา”
ดร. อัจนา ไวความดี รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

2. หัวข้อ “พัฒนาการนโยบายการคลังหลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540”
ดร. สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย (การพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมและการกระจายรายได้)
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

3. หัวข้อ “การพัฒนาความร่วมมือทางการเงินในภูมิภาคและโครงสร้างระเบียบการเงินของโลกเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะวิกฤตทางการเงิน”
ดร. ปกรณ์ วิชยานนท์ ผู้อำนวยการวิจัย (ตลาดเงินตลาดทุน) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

4. หัวข้อ “การลงทุนขนาดใหญ่ของไทย: บทเรียนจากวิกฤตและแนวทางจัดการสำหรับอนาคต”
ผศ. ณดา จันทร์สม ผู้อำนวยการสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

5. หัวข้อ “การบริหารเศรษฐกิจมหภาคตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ดร. ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

กลุ่มที่ 2

ความเปลี่ยนแปลงในภาคการเงินและในการอภิบาลบริษัท
ประธานกลุ่ม: ดร. อัมมาร สยามวาลา
นักวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ผู้ร่วมอภิปราย:
1. หัวข้อ “การดำเนินการของธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อพัฒนาระบบสถาบันการเงิน”
นายเกริก วณิกกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

2. หัวข้อ “รูปแบบธุรกิจใหม่ (Business Model) ของธนาคารพาณิชย์เอกชน”
ดร. ประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

3. หัวข้อ “สถาบันการเงินเฉพาะกิจ: เครื่องมือของนโยบายรัฐในการเข้าถึงผู้ที่ไม่ได้รับบริการจากธนาคารพาณิชย์”
ดร. เพลินพิศ สัตย์สงวน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

4. หัวข้อ “สู่หนึ่งทศวรรษวิกฤตเศรษฐกิจ: ตลาดทุนไทยได้เรียนรู้และปรับปรุงสิ่งใดบ้าง”
ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ช่วยผู้จัดการสายงานวิจัยและข้อมูลสารสนเทศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

5. หัวข้อ “อภิบาลของบริษัทไทยกับการพัฒนาตลาดหุ้นหลังวิกฤตเศรษฐกิจ”
ดร. ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

กลุ่มที่ 3

ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายทางเศรษฐกิจ
ประธานกลุ่ม: ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ รองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ผู้ร่วมอภิปราย:
1. หัวข้อ “เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น”
นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธาน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
ศ. ดร. เมธี ครองแก้ว กรรมการ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

2. หัวข้อ “ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย”“>
นางสาว สฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระ

3. หัวข้อ “การผูกขาดทางธุรกิจกับการเมือง”
ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ผู้อำนวยการวิจัย (การบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

4. หัวข้อ “ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาลทางเศรษฐกิจ”
ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ผู้อำนวยการวิจัย (เศรษฐกิจยุคสารสนเทศ) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

กลุ่มที่ 4

การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น
ประธานกลุ่ม: นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ผู้ร่วมอภิปราย:
1. หัวข้อ “เก้าปีหลังวิกฤติเศรษฐกิจ: ชุมชนท้องถิ่นเกิดการเปลี่ยนแปลงและเรียนรู้อะไรบ้าง”
คุณสมสุข บุญญะบัญชา ผู้อำนวยการ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
นายแก้ว สังข์ชู ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์ประสานงานภาคีองค์กรเครือข่ายชุมชน จังหวัดพัทลุง

2. หัวข้อ “บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างชุมชนน่าอยู่ และเมืองน่าอยู่”
รศ. วุฒิสาร ตันไชย ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า

3. หัวข้อ “ฐานข้อมูลชุมชนที่ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต”
ดร. พิพัฒน์ ยอดพฤติการ ผู้อำนวยการสถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

4. หัวข้อ “เศรษฐกิจพอเพียง:ทางเลือก หรือ ทางออก เพื่อการบริหารนโยบายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง”
ดร. วิชัย ตุรงค์พันธุ์ ผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

5. หัวข้อ “สู่เศรษฐกิจพอเพียง: การออมของครัวเรือนในจังหวัดสงขลา”
ศ. ดร. จรัส สุวรรณมาลา คณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6. หัวข้อ “หลักประกันสุขภาพของคนไทย: เส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า”
ดร. วิโรจน์ ณ ระนอง ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม 2549

การประชุมร่วมเพื่อเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย
สรุปการระดมความคิด กลุ่มที่ 1
สรุปการระดมความคิด กลุ่มที่ 2
สรุปการระดมความคิด กลุ่มที่ 3
สรุปการระดมความคิด กลุ่มที่ 4

ประธาน: ดร. จุรี วิจิตรวาทการ
ประธานศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์