ปี 2550 “จะแก้ปัญหาความยากจนกันอย่างไร: แข่งขัน แจกจ่าย หรือสวัสดิการ”

หน่วยงานมูลนิธิชัยพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
วันที่2007-11-10
สถานที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี

การนำเสนอบทความเรื่อง “จะแก้ปัญหาความยากจนกันอย่างไร: แข่งขัน แจกจ่าย หรือสวัสดิการ”

 

โดย ดร. อัมมาร สยามวาลา รักษาการประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ดร. สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย การพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมและการกระจายรายได้

กลุ่มที่ 1

การให้สินเชื่อเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจของคนจน
ประธานกลุ่ม: ดร. อัมมาร สยามวาลา รักษาการประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ผู้นำเสนอบทความ:
1. หัวข้อ “สินเชื่อและปัญหาเศรษฐกิจของคนจน”
ดร. กอบศักดิ์ ภูตระกูล ผู้บริหารสถาบันวิจัยเพื่อตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2. หัวข้อ “โอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนกับการลดปัญหาความยากจน”
ดร. ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
3. หัวข้อ “ประเมินผลกระทบของกองทุนหมู่บ้านต่อความยากจน”
คุณบวรพรรณ อัชกุล นักวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

กลุ่มที่ 2

การให้การศึกษาเพื่อยกฐานะของคนจน

ประธานกลุ่ม: ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้นำเสนอบทความ:
1. หัวข้อ “รัฐกับการศึกษา: โจทย์หลักและบทวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง”
ดร. วิโรจน์ ณ ระนอง ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
2. หัวข้อ “ความสำคัญของการศึกษาต่อการลดความยากจน”
ดร. อัศวิน อาฮูยา ผู้บริหารทีม สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
3. หัวข้อ “บทบาทของการศึกษาภาคบังคับต่อการแก้ปัญหาความยากจน: โอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนและเด็กด้อยโอกาส”
คุณวรัญญา เตียวกุล สำนักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน 2550

กลุ่มที่ 3

การต่อสู้กับความยากจนด้วยระบบรัฐสวัสดิการ
ประธานกลุ่ม: คุณนวพร เรืองสกุล ประธานกรรมการธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน)

ผู้นำเสนอบทความ:
1. หัวข้อ “การเปลี่ยนแปลงในวิธีการปิดงบขาดดุลรายได้ของคนไทยและนัยต่อการเข้าสู่รัฐสวัสดิการ”
รศ.ดร. มัทนา พนานิรามัย อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2. หัวข้อ “แรงงานนอกระบบและนัยต่อการเข้าสู่รัฐสวัสดิการ”
รศ. ดร. นฤมล นิราทร อาจารย์คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. หัวข้อ “คนไทยพร้อมจะจ่ายค่ารัฐสวัสดิการหรือ?”
ดร. วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
4. หัวข้อ “กองทุนสวัสดิการภาคประชาชน”
ครูชบ ยอดแก้ว กรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และความมั่นคงของมนุษย์

กลุ่มที่ 4

โลกาภิวัตน์ขจัดความยากจนจริงหรือ?
ประธานกลุ่ม: ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ประธานกรรมการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ผู้นำเสนอบทความ:
1. หัวข้อ “โลกาภิวัตน์ การกระจายรายได้ และการขจัดความยากจน”
รศ. ดร. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2. หัวข้อ “โลกาภิวัตน์ การเจริญเติบโตและความไม่เท่าเทียมระหว่างภูมิภาคในประเทศไทย พ.ศ. 2524-2546: กรณีศึกษาภูมิภาคภายในและภูมิภาคชายฝั่ง”
ดร. ตรีเทพ นพคุณ กระทรวงการต่างประเทศ
3. หัวข้อ “ทุนต่างประเทศกับการสร้างงานในประเทศไทย”
ดร. สันติ ชัยศรีสวัสดิ์สุข คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
4. หัวข้อ “โลกาภิวัตน์กับผลกระทบต่อตลาดแรงงานไทย”
ดร. พิริยะ ผลพิรุฬห์ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
5. หัวข้อ “การเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยเป็นประโยชน์ต่อผู้มีรายได้น้อยหรือไม่?”
ดร. อนันต์ วัฒนกุลจรัส คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์


รายงานทีดีอาร์ไอ: สรุป สัมมนาวิชาการประจำปี 2550  “จะแก้ปัญหาความยากจนกันอย่างไร: แข่งขัน แจกจ่าย หรือสวัสดิการ”