tdri logo
tdri logo

Low Carbon Network

รวบรวมงานวิจัย
ด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย

5 สาขาวิจัย ตามแผน LT-LEDS

สาขาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแบ่งออกเป็น 5 สาขา

โดยอ้างอิงการจัดทำยุทธศาสตร์ระยะยาวในการพัฒนาแบบปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำของประเทศไทย (Thailand’s Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy: LT-LEDS) โดยสำนักงานและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)

+ 1 สาขาวิจัย มาตรการทางเศรษฐศาสตร์

การใช้กลไก/มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญต่อการผลักดันนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงเป็นอีก 1 สาขาวิจัยที่มีส่วนสนับสนุนกิจกรรมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้ง 5 สาขา

พลังงานและขนส่ง

อุตสาหกรรม

เกษตรกรรม

ของเสีย

ป่าไม้

นโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

งานวิจัยรายเทคโนโลยีของแต่ละสาขา

การจัดกลุ่มงานวิจัยในแต่ละสาขา ตามรายเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง

พลังงานและขนส่ง

การผลิตพลังงานหมุนเวียน

ดร.ขนกวรรณ มุขตา

  • การผลิตไบโอไฮโดรเจนไบโอเอทานอลและก๊าซชีวภาพจากกากมันสำปะหลังผ่านวิธีไบโอร์ไฟเนอรี่
  • การพัฒนาเทคโนโลยีการย่อยสลายพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิแลกติกแอซิดเพื่อผลิตพลังงานทดแทน

อาศิรา บุญแขม

รสสุคนธ์ จะวะนะ

รศ.วงกต วงศ์อภัย

  • Greenhouse gas emissions mitigation potential from renewable energy development in Thailand’s industrial estates
  • Greenhouse gas mitigation potential from waste heat recovery for power generation in cement industry: The case of Thailand
  • Assessment of carbon reduction costs in renewable energy technologies for heat generation in Thailand
  • การบริหารจัดการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและต้นแบบระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด

รศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ

  • การบริหารจัดการชีวมวลเหลือใช้แบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • โครงการส่งเสริมและสาธิตการใช้ประโยชน์จากก๊าซไบโอมีเทนด้วยระบบท่อส่งก๊าซเพื่อทดแทนก๊าซหุงต้มในชุมชนต้นแบบ
  • โครงการ ต้นแบบระบบผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์ด้วยเซลล์แบบโปร่งแสง คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.เสาหฤท นิตยวรรธนะ

ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี

  • การบริหารจัดการชีวมวลเหลือใช้แบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • โครงการต้นแบบระบบผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์ด้วยเซลล์แบบโปร่งแสง คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.ยศธนา คุณาทร

รศ.ดร.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย

  • Assessment of renewable energy and energy efficiency plans in Thailand’s industrial sector

ดร.สิริภา จุลกาญจน์

  • Prosumer solar power and energy storage forecasting in countries with limited data: The case of Thailand
  • How an Integration of Home Energy Management and Battery System Affects the Economic Benefits of Residential PV System Owners in Thailand
  • Stakeholders’ Perspectives of Design Options for a Rooftop Solar PV Self-Consumption Scheme in Thailand
  • A cross-country comparison of compensation mechanisms for distributed photovoltaics in the Philippines, Thailand, and Vietnam

รศ.ดร.อิทธิชัย ปรีชาวุฒิพงศ์

  • การบริหารจัดการชีวมวลเหลือใช้แบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • การบริหารจัดการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและต้นแบบระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด

ผศ.ดร.ณัฐนี วรยศ

  • โครงการต้นแบบการผลิตถ่านชีวภาพจากเตาเผาวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรประสิทธิภาพสูง เพื่อเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ
    คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ดร.ชำนาญ ลิ้มสกุล

  • โครงการศึกษาพัฒนาต้นแบบชุดเครื่องสูบน้ำเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้ชิ้นส่วนภายในประเทศ (พ.ศ. 2550)
  • โครงการศึกษาประเมินศักยภาพพลังงานลมในการผลิตไฟฟ้าเฉพาะแหล่ง (พ.ศ. 2550)
  • โครงการศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสเปกตรัมของแสงอาทิตย์ที่มีต่อสมรรถนะทางไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์กลางแจ้ง (พ.ศ. 2555)
  • โครงการสถานีผลิตไฟฟ้าในหน่วยงานราชการ (Campus Power) (พ.ศ. 2557)

 

 

การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

ผดร.วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

  • Household electricity demand forecast and energy savings potential for Vientiane, Lao PDR

นฤทธิ์ หล่อประดิษฐ์

รศ.วงกต วงศ์อภัย

  • Potential for Energy Efficiency Improvements to Reduce Greenhouse Gas Emissions in Thailand’s Industrial Estates

รศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ

  • โครงการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567
  • โครงการศึกษาประสิทธิภาพหัวเผาไหม้ก๊าซไฮโดรเจนร่วมกับก๊าซธรรมชาติสำหรับการใช้ในภาคความร้อน (ภาคอุตสาหกรรม) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.ยศธนา คุณาทร

  • การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

รศ.ดร.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย

  • Assessment of renewable energy and energy efficiency plans in Thailand’s industrial sector

ผศ.ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร

  • Energy Saving and CO2 Reduction Potential from Partial Bus Routes Reduction Model in Bangkok Urban Fringe.
  • Assessment of energy saving potential and CO2 abatement cost curve in 2030 for steel industry in Thailand. Environment, Development and Sustainability

ผศ.ดร.ณัฐนี วรยศ

  • การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567
  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา กลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 3) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567
เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน

ดร.ณัฐวุฒิ จารุวสุพันธุ์ และ ผศ.ดร.เสาหฤท นิตยวรรธนะ และผศ.ดร.ยศธนา คุณาทร

ดร.สิริภา จุลกาญจน์

  • Prosumer solar power and energy storage forecasting in countries with limited data: The case of Thailand
  • How an Integration of Home Energy Management and Battery System Affects the Economic Benefits of Residential PV System Owners in Thailand
  • Stakeholders’ Perspectives of Design Options for a Rooftop Solar PV Self-Consumption Scheme in Thailand
ดร.ชำนาญ ลิ้มสกุล
  • โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางของระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทยเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลสมรรถนะการทำงานในระยะยาว (พ.ศ. 2561)
  • โครงการทดสอบนวัตกรรมที่นำเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงาน (พ.ศ. 2564)
ดักจับและกักเก็บคาร์บอน

รศ.วงกต วงศ์อภัย

  • Potential Business Models of Carbon Capture and Storage (CCS) for the Oil Refining Industry in Thailand
  • Gap Analysis and Key Enabling Factors for Carbon Capture Utilization and Storage development in Thailand Oil and Gas Industry to Achieve Carbon Neutrality Target

ผศ.ดร.เสาหฤท นิตยวรรธนะ

  • การศึกษาการผลิตแคลเซียมคาร์บอเนตจากยิปซั่ม FGD
    ร่วมกับการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร

  • Enhancement of Carbon Dioxide Capture by Amine-modified Rice Husk Mesoporous Material, Environmental Progress & Sustainable Energy
  • งานวิจัยด้าน CCU โครงการการผลิตยูเรียจากก๊าซไอเสียด้วยปฏิกิริยาเชิงเคมีไฟฟ้า คาดว่าจะเสร็จในปี 2567
ไฮโดรเจน

ดร.วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

  • Prospect of Hydrogen Usage in the Industrial Sector: Thailand Context

ดร.ขนกวรรณ มุขตา

  • การผลิตไบโอไฮโดรเจนไบโอเอทานอลและก๊าซชีวภาพจากกากมันสำปะหลังผ่านวิธีไบโอร์ไฟเนอรี่

อุเทน กันทา

รศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ

  • โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาการผลิตและการใช้ไฮโดรเจนเพื่อส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน
  • โครงการศึกษาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมการใช้ไฮโดรเจนเชิงพาณิชย์ในประเทศไทย
  • โครงการศึกษาประสิทธิภาพหัวเผาไหม้ก๊าซไฮโดรเจนร่วมกับก๊าซธรรมชาติสำหรับการใช้ในภาคความร้อน (ภาคอุตสาหกรรม) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

รศ.ดร.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย

รถยนต์และขนส่ง

กัญณภัทร ชื่นวงศ์

  • Achieving Sustainable Low Carbon Growth in The City through Electrified Urban Transport System in Thailand

รศ.วงกต วงศ์อภัย

  • Estimating Energy Consumption of Battery Electric Vehicles Using Vehicle Sensor Data and Machine Learning Approaches
    DOI : 10.3390/en16176351, ISSN : 19961073

ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี และ ผศ.ดร.ยศธนา คุณาทร

  • การพัฒนาต้นแบบรถตู้เก่าใช้แล้วให้สามารถใช้พลังงานไฟฟ้า

ผศ.ดร.ยศธนา คุณาทร

  • การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

รศ.ดร.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย

ผศ.ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร

  • Using Combined Bus Rapid Transit and Buses in a Dedicated Bus Lane to Enhance Urban Transportation Sustainability
    https://doi.org/10.3390/su13063052
  • Energy Saving and CO2 Reduction Potential from Partial Bus Routes Reduction Model in Bangkok Urban Fringe. Energies. 13(22):5963. https://doi.org/10.3390/en13225963
อาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

นฤทธิ์  หล่อประดิษฐ์

  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา กลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 2)
    https://erdi.cmu.ac.th/website_new/”
  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา กลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 3) คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือน พฤษภาคม 2567

รศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ

  • โครงการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี

  • การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร. ยศธนา คุณาทร

  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ ฯ กฟผ. ระยะที่ 1 และ 2
  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา กลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 3) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

ผศ.ดร.ณัฐนี วรยศ

  • การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในคณะแพทยศาสตร์
    คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567″
  • อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา กลุ่มอาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 3) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567
การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยแบบจำลอง

รศ.ดร. อำนาจ ผดุงศิลป์

  • Greenhouse Gas Emissions from Global Cities
  • Methodology for Inventorying Greenhouse Gas Emissions from Global Cities
  • Integrated Energy and Carbon Modeling with a Decision Support System: Policy Scenarios for Low-carbon City Development in Bangkok
  • Future Studies’ Backcasting Method Used for Strategic Sustainable City Planning
  • Analyses of the Decarbonizing Thailand’s Energy System Toward Low-carbon Futures
  • A Study on Strategic Urban Energy Use and Carbon Management Towards Low-carbon City in Thailand

ดร. กัญณภัทร ชื่นวงศ์

  • การทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2564 – 2573 สาขาคมนาคมขนส่ง

    ดร. วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

    รศ.ดร. บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย

    • A framework for national scenarios with varying emission reductions
      (https://doi.org/10.1038/s41558-021-01048-z)

    ดร. สิริภา จุลกาญจน์

    • Stochastic Modeling of Renewable Energy Sources for Capacity Credit Evaluation

    อุตสาหกรรม

    วัสดุทดแทนปูนเม็ดในการผลิตคอนกรีต

    ดร. วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

    • Potential of Fly Ash Utilization for the Clinker Substitution in Cement Industry in Thailand
    • Greenhouse Gas Abatement Cost of Clinker Substitution in Thailand’s Cement Industry

    ผศ.ดร. วริสรา เลิศไพฑูรย์พันธ์

    • การพัฒนาคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า โดยใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 (คาดว่าจะแล้วเสร็จปี 2567)”
    ผลิตวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์คาร์บอนต่ำ

    ดร. กิตติวุฒิ เฉลยถ้อย

    • การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตวัสดุคอมโพสิตชีวภาพจากชีวมวลเหลือทิ้งและพลาสติกรีไซเคิลเพื่อใช้เป็นวัสดุก่อสร้างและวัสดุตกแต่งภายในสำหรับอาคารคาร์บอนต่ำ
      (คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2568)

    รศ.ดร. ธำรงรัตน์ มุ่งเจริญ

    • Development of Sustainable Consumption and Production Indicators for Industrial Sector according to circular economy Principles in Thailand”, Interdisciplinary Research Review
    • Integrated transdisciplinary technologies for greener and more sustainable innovations and applications of Cleaner Production in the Asia-Pacific region
    • Green and Sustainable innovation for Cleaner Production in the Asia-Pacific region

    อธิณัฐ พุทธิวนิช

    • โครงการประเมินศักยภาพความพร้อมอุตสาหกรรมเหล็กกล้าที่มีเตาหลอม เพื่อรองรับมาตรการควบคุมสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงในตลาดโลก (คาดว่าแล้วเสร็จปี 2567)
    รีไซเคิล-นำวัสดุเหลือใช้มาใช้ในการผลิต

    ดร. วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

    • Potential of Fly Ash Utilization for the Clinker Substitution in Cement Industry in Thailand

    ผศ.ดร. สิริลักษณ์ เจียรากร

    • การพัฒนาวัตถุดิบคาร์บอนต่ำ (คาดว่าจะเสร็จปี 2568)”ดร. กิตติวุฒิ เฉลยถ้อย
    • การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตวัสดุคอมโพสิตชีวภาพจากชีวมวลเหลือทิ้งและพลาสติกรีไซเคิลเพื่อใช้เป็นวัสดุก่อสร้างและวัสดุตกแต่งภายในสำหรับอาคารคาร์บอนต่ำ
      (คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2568)”รศ.ดร. ธำรงรัตน์ มุ่งเจริญ
    • Material circularity indicator for accelerating low-carbon circular economy in Thailand’s building and construction sector

    ผศ.ดร. วริสรา เลิศไพฑูรย์พันธ์

    รศ.ดร. กอปร ศรีนาวิน

      เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

      ดร. วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์

      • Prospect of Hydrogen Usage in the Industrial Sector: Thailand Context

      ดร. กิตติวุฒิ เฉลยถ้อย

      อธิณัฐ พุทธิวนิช

      • Benchmarking energy consumption and GHG emissions of iron & steel industries of Thailand
      • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานด้วยกระบวนการ Hot Charge สำหรับโรงงานที่มีเตาหลอมเหล็กด้วยไฟฟ้า Electric Arc Furnace (EAF) และมีโรงรีดร้อนเพื่อผลิตเหล็กทรงยาว ระยะที่ 1

      ผศ.ดร. วริสรา เลิศไพฑูรย์พันธ์

      • การพัฒนาประสิทธิภาพของแผงโซล่าเซลล์ด้วยฮีทไปป์คูลลิ่งเพื่อเปรียบเทียบคาร์บอนฟุตพริ้นท์กับพลังงานทางเลือกชนิดอื่น (คาดว่าจะแล้วเสร็จปี 2567)

      รศ. วงกต วงศ์อภัย

      • Business model for the commercialisation of compressed bio-methane gas by substituting conventional fossil fuels in the Thai Industrial Sector
        DOI : 10.3303/CET1863056, ISSN : 22839216
      • Evaluation of Energy Saving Potential for Small and Medium Enterprises (SMEs) in ThailandDOI : 10.1016/j.egypro.2017.11.097
      • Analysis of Energy Utilization Index in Thailand Sanitary Ceramics Sector
        DOI : 10.1016/j.egypro.2017.11.032
      • Factors impact of energy consumption in Thailand’s frozen seafood industry
        DOI : 10.12720/sgce.8.3.271-275, ISSN : 23733594

      รศ.ดร. กอปร ศรีนาวิน

      • การศึกษาวิจัยและพัฒนาอิฐก่อสร้างเพื่อการประหยัดพลังงาน
      อื่นๆ

      ผศ.ดร. อัจฉริยา สุริยะวงค์

      Embody Carbon Emission from Construction Sector
      (คาดว่าแล้วเสร็จ 2024)

      ผศ.ดร. สิริลักษณ์ เจียรากร

      • Specific Energy Consumption and Carbon Intensity of Ceramic Tablewares: Small enterprises (SEs) in Thailand. Journal of Cleaner Production
      • GHG emission projection and mitigation potential for ceramic table ware industry in Thailand. Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change
      • Carbon and Water Footprint of Robusta Coffee through Its Production Chains in Thailand. Environment, Development and Sustainability,

      ดร. อาทิมา ดับโศก

      ดร. กิตติวุฒิ เฉลยถ้อย

      • การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจหมุนเวียน (CFP-CE) (คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567)

      รศ.ดร. ธำรงรัตน์ มุ่งเจริญ

      • Life Cycle Greenhouse Gas Emissions for Circular Economy, Chapter 24 of Introduction of Circular Economy

      รศ.ดร. ธำรงรัตน์ มุ่งเจริญ

      • LCA Compendium- The Complete World of Life Cycle Assessment: Special Types of LCA (one of the authors for Chapter 2: Carbon Footprint of Products)

      เกษตรกรรม

      นาเปียกสลับแห้ง

      ดร. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง

      • ความยั่งยืนของระบบการทำนาที่มีการใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยแม่นยำร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง

      เบญจมาส รสโสภา

      ดร. นิตยา ชาอุ่น

      นำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรไปใช้ประโยชน์

      รศ.ดร. วาริท เจาะจิตต์

      • Improving environmental sustainability of Thai palm oil production in 2050
      • Options to reduce environmental impacts of palm oil production in Thailand
      ปรับปรุงแร่ธาตุในดิน / ใส่ปุ๋ยแบบแม่นยำ

      ดร. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง

      • ความยั่งยืนของระบบการทำนาที่มีการใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยแม่นยำร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง

      ดร. นิตยา ชาอุ่น

      ปรับปรุงสูตรอาหารสัตว์

      รศ.ดร. กฤตพล สมมาตย์

      • Enteric methane emissions, energy partitioning, and energetic efficiency of zebu beef cattle fed total mixed ration silage. Asian Australasian Journal of Animal Sciences
      • Enteric methane emission models for diverse beef cattle feeding systems in South-east Asia: A meta-analysis. Animal Feed Science and Technology
      • Prediction of enteric methane emission from beef cattle in Southeast Asia
      • Enteric Methane Emissions, Rumen Fermentation Characteristics, and
      • Energetic Efficiency of Holstein Crossbred Bulls Fed Total Mixed Ration Silage with Cassava instead of Rice Straw
      • Feed intake, digestibility and energy partitioning in beef cattle fed diets with cassava pulp instead of rice straw
      • Dietary fat sources affect feed intake, digestibility, rumen microbial populations, Energy partition, and methane emissions in different beef cattle genotypes. Animal
      • Enteric Methane Emission, Energetic Efficiency and Energy Requirements for the Maintenance of Beef Cattle in the Tropics
      • Effects of feeding level on methane emissions and energy utilization of Brahman cattle in the tropics
      • The effect of dietary coconut kernels, whole cottonseeds and sunflower seeds on the intake, digestibility and enteric methane emissions of Zebu beef cattle fed rice straw based diets
      ประเมินวัฏจักรชีวิตและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

      ดร. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง

      • การประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย
        ดร. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง การประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของห่วงโซ่อุปทานหมูในประเทศไทย

      รศ.ดร. กฤตพล สมมาตย์

      • The Energy Contents of Broken Rice for Lactating Dairy Cows
      • Enteric methane emissions, energy partitioning, and energetic efficiency of zebu beef cattle fed total mixed ration silage. Asian Australasian Journal of Animal Sciences
      • Enteric methane emission models for diverse beef cattle feeding systems in South-east Asia: A meta-analysis. Animal Feed Science and Technology
      • Prediction of enteric methane emission from beef cattle in Southeast Asia
      • Development of methane conversion factor models for Zebu beef cattle fed low-quality crop residues and by-products in tropical regions. Ecology and Evolution
      • Environmental impacts of extensive and intensive beef production systems in Thailand evaluated by life cycle assessment. Journal of Cleaner Production

      รศ.ดร. วาริท เจาะจิตต์

      • Towards more sustainable Water, Sanitation and Hygiene (WASH) projects in Magway Region, Myanmar
      • Evaluation of the potential environmental impacts of condom production in Thailand
      • Options to reduce environmental impacts of palm oil production in Thailand
      • Effects of oil palm expansion through direct and indirect land use change in Tapi river basin, Thailand
      • Non-CO2 greenhouse gas emissions from palm oil production in Thailand
      • Assessing the environmental impact of palm oil produced in Thailand
      • Evaluating environmental performance of concentrated latex production in Thailand

      เบญจมาส รสโสภา

      ดร. นิตยา ชาอุ่น

      ส่งเสริมการผลิตและบริโภคที่ยิ่งยืน

      ดร. นิตยา ชาอุ่น

      • การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อการพัฒนาเกษตรคาร์บอนตํ่าของไทย (2566-2568)

      ศรัณย์ภัคร์ กิตติวรภูมิ

      การจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ

      ดร. กัญณภัทร ชื่นวงศ์

      • Waste Bank Development for Surat Thani Province Roadmap
      • Ship waste management online platform development for Bangkok Port
      • GCF Waste Bank Development for Surat Thani Province Roadmap
      • Support to Global Covenant of Mayors for Climate and Energy (GCoM) in Asia: Capacity Building and Knowledge Sharing Ship Waste management online platform Development for Bangkok Port

      ดร. วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์

      ผศ.ดร. คมศิลป์ วังยาว

      ผศ.ดร. อวัสดา พงศ์พิพัฒน์

      • Greenhouse Gas Mitigation and Energy Production Potentials from Municipal Solid Waste Management in Thailand Through 2050
      • Investigation of plastic waste management in Thailand using material flow analysis
      จัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ

      ผศ.ดร. ปิยะวดี ศรีวิชัย

      ผศ. เอนก สาวะอินทร์

      • การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียแบบติดกับที่สำหรับกระบวนการผลิตขนมลา

      ผศ.ดร. อวัสดา พงศ์พิพัฒน์

      • Comparative study of hot air drying and microwave drying for dewatered sludge
      เปลี่ยนขยะเป็นพลังงาน

      ดร. ขนกวรรณ มุขตา

      • ต้นแบบการหมักย่อยขยะพลาสติกชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์เพื่อผลิตพลังงานทดแทน

      รศ.ดร. สิริชัย คุณภาพดีเลิศ

      • ต้นแบบการหมักย่อยขยะพลาสติกชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์เพื่อผลิตพลังงานทดแทน
      • การผลิตไบโอไฮโดรเจนไบโอเอทานอลและก๊าซชีวภาพจากกากมันสำปะหลังผ่านวิธีไบโอร์ไฟเนอรี่

      ผศ.ดร. เสาหฤท นิตยวรรธนะ

      • ต้นแบบการหมักย่อยขยะพลาสติกชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์เพื่อผลิตพลังงานทดแทน
      • การผลิตไบโอไฮโดรเจนไบโอเอทานอลและก๊าซชีวภาพจากกากมันสำปะหลังผ่านวิธีไบโอร์ไฟเนอรี่

      ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี

      • การสร้างระบบต้นแบบการผลิตแก๊สชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ขนาด 300 ลูกบาศก์เมตร
      • การบริหารจัดการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและต้นแบบระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด

      ผศ.ดร. ยศธนา คุณาทร

      • การสร้างระบบต้นแบบการผลิตแก๊สชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ขนาด 300 ลูกบาศก์เมตร

      ผศ.ดร. ปิยะวดี ศรีวิชัย

      ผศ.ดร. คมศิลป์ วังยาว

      • Maximizing RDF recovery potential through the integration of electrical resistivity tomography and frequency-domain electromagnetic surveys for waste characterization in open dump mining
      • The effect of aeration rate and feedstock density on biodrying performance for wet refuse-derived fuel quality improvement
      • From Waste to Resource: An Economic Analysis of Landfill Mining for Refuse-Derived Fuel Production in Five Thai Landfills
      • Modification of the Aeration-Supplied Configuration in the Biodrying Process for Refuse-Derived Fuel (RDF) Production
      • Improvement of energy recovery potential of wet-refuse-derived fuel through bio-drying process
      • การปรับปรุงคุณภาพ RDF ด้วยกระบวนการทำแห้งชีวภาพ (เสร็จแล้วกับ MSW, RDF-2, กำลังทำ RDF-3 คาดว่าจะเสร็จในปี 2567),

      รศ.ดร. อิทธิชัย ปรีชาวุฒิพงศ์

      • การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนเพื่อนำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิง RDF แบบบูรณาการ
      • การสร้างระบบต้นแบบการผลิตแก๊สชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ขนาด 300 ลูกบาศก์เมตร

      เพ็ญนภา ต้นรังกลาง

      • การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนเพื่อนำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิง RDF แบบบูรณาการ

      ผศ.ดร. อวัสดา พงศ์พิพัฒน์

      • Greenhouse Gas Mitigation and Energy Production Potentials from Municipal Solid Waste Management in Thailand Through 2050
      • Improvement of energy recovery potential of wet-refuse-derived fuel through bio-drying process
      • Modification of the Aeration-Supplied Configuration in the Biodrying Process for Refuse-Derived Fuel (RDF) Production
      • Effects of operating parameters on co-gasification of coconut petioles and refuse-derived fuel
      • Experimental study on combustion characteristics in a CFB during Co-firing of coal with biomass pellets in Thailand
      • Ash deposit characterisation in a large-scale municipal waste-to-energy incineration plant
      • Investigation into high-temperature corrosion in a large-scale municipal waste-to-energy plant
      แปรรูปขยะเป็นผลิตภัณฑ์

      ผศ.ดร. เสาหฤท นิตยวรรธนะ

      • โครงการต้นแบบการผลิตถ่านชีวภาพจากเตาเผาวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรประสิทธิภาพสูง เพื่อเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567
      • โครงการการพัฒนาระบบผลิตถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลแบบผง คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

      ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี

      • ต้นแบบการนำขยะพลาสติกไปเป็นส่วนการผลิตแอสฟัลด์คอนกรีตเลือกปูพื้นและยางมะตอยฯ

      ผศ.ดร. ยศธนา คุณาทร

      • ต้นแบบการนำขยะพลาสติกไปเป็นส่วนการผลิตแอสฟัลด์คอนกรีตเลือกปูพื้นและยางมะตอย

      ผศ. เอนก สาวะอินทร์

      • การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัพไซคลิ่งจากขยะในชุมชนเกาะลิบง ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
      • การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชจากเปลือกปูเพื่อใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากการประมงของชุมชนบ้านมดตะนอย
      • การออกแบบกระบวนการรีไซเคิลเปลือกปูเพื่อผลิตปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ดในระดับอุตสาหกรรมในครัวเรือนและวิสาหกิจชุมชน
      ประเมินการลดก๊าซเรือนกระจก

      รศ.ดร. อิทธิชัย ปรีชาวุฒิพงศ์

      • การสร้างความพร้อมการติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการภาคของเสีย ฯ

      เพ็ญนภา ต้นรังกลาง

      อลงกรณ์ ศิริพัฒน์

      • การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนเพื่อนำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิง RDF แบบบูรณาการ
      • การศึกษาและจัดทำระเบียบวิธีลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ (T-VER Methodology)
      • ออกแบบและจัดทำเอกสารการคำนวณและคู่มือการคำนวณสำหรับระเบียบวิธีลดก๊าซเรือนกระจก
      พืชดูดซับกักเก็บคาร์บอนในระบบนิเวสทางทะเล

      ผศ.ดร. อลิษา สหวัชรินทร์

      • Nature-based solutions to enhance urban flood resiliency: case study of a Thailand Smart District. Sustainable Water Resources Management
      • Landscape change analysis: Ecosystem services in the peri-urban agriculture of Bangkok. Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)
      • Enhancing Community Climate change resiliency and Environmental Quality through Organic Farming and Design Thinking in peri-urban Bangkok
      • The effects of land-based change on coastal ecosystems. Landscape and Ecological Engineering,
      • Smart City Thailand: Visioning and Design to enhance sustainability, resiliency, and Community wellbeing. urban Science

      ผศ.ดร. อลิษา สหวัชรินทร์

      • การวิเคราะห์เชิงปริภูมิ-กาล และแบบจำลองเพื่อความยั่งยืนของพื้นที่ป่าและเมืองชายฝั่งอันดามัน: กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่

      ศ.ดร. อัญชนา ประเทพ

      • Blue carbon assessments of seagrass and mangrove ecosystems in South and Southeast Asia: Current progress and knowledge gaps
      • Two decades of seagrass area change: Organic carbon sources and stock
      • Quantification of blue carbon in seagrass ecosystems of Southeast Asia and their potential for climate change mitigation
      • Publication Preview Source A High Abundance of Holothuria (Halodeima) atra (Holothuroidea Aspidochirotida) in a Halimeda Dominated Habitat
      • Modeling of the Elements Ca2+, Mg2+ and Si in the Sediments and the Body Walls of Sea Cucumbers in the Tropical Seagrass Meadows
      • Coastal and estuarine blue carbon stocks in the greater Southeast Asia region: Seagrasses and mangroves per nation and sum of total
      • The contributions of allochthonous and autochthonous materials to organic carbon in coastal sediment: A case study from Tangkhen Bay, Phuket, Thailand
      • Ten years of conservation efforts enhance seagrass cover and carbon storage in Thailand
      • Blue carbon and Nature based Solution (อยู่ระหว่างการดำเนินการ)

      ณัฐวดี บันติวิวัฒน์กุล

      • การกักเก็บคาร์บอนของหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่งจังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี

      ลัดดาวัลย์ แสงสว่าง

      • ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในหญ้ากุยช่ายเข็ม (Halodule pinifolia) และดินตะกอน บริเวณอ่าวมะขามป้อม ร็อคการเดนท์ จังหวัดระยอง และบ้านไม้รูด จังหวัดตราดปริมาณการตกตะกอน ในแหล่งหญ้าทะเล บริเวณอ่าวเพ จังหวัดระยอง (คาดว่าแล้วเสร็จในปี 2567)

      รศ.ดร. อารตี อยุทธคร

      • งานวิจัยเกี่ยวกับป่าชุมชนในภาคเหนือเปรียบเทียบกับนากาแลนด์  ปี 2565-2567
      จัดการป่าชุมชน

      รศ.ดร. อารตี อยุทธคร

      • งานวิจัยเกี่ยวกับป่าชุมชนในภาคเหนือเปรียบเทียบกับนากาแลนด์ ปี 2565-2567
      พัฒนาพื้นที่สีเขียว

      ผศ.ดร. อลิษา สหวัชรินทร์

      • Nature-based solutions to enhance urban flood resiliency: case study of a Thailand Smart District. Sustainable Water Resources Management
      • Landscape change analysis: Ecosystem services in the peri-urban agriculture of Bangkok. Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)
      • Enhancing Community Climate change resiliency and Environmental Quality through Organic Farming and Design Thinking in peri-urban Bangkok
      • Smart City Thailand: Visioning and Design to enhance sustainability, resiliency, and Community wellbeing. urban Science
      การวิเคราะห์แบบจำลองและการพยากรณ์

      ผศ.ดร. อลิษา สหวัชรินทร์

      • การวิเคราะห์เชิงปริภูมิ-กาล และแบบจำลองเพื่อความยั่งยืนของพื้นที่ป่าและเมืองชายฝั่งอันดามัน: กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่

      นโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

      วิเคราะห์ประโยชน์และผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์

      ผศ.ดร. ชโลทร

      • แก่นสันติสุขมงคล การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ภาษีคาร์บอน เพื่อเป็นแรงจูงใจเชิงเศรษฐศาสตร์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
      • แก่นสันติสุขมงคล การศึกษาความเป็นไปได้ และโอกาสในการขายคาร์บอนเครดิตจากโครงการลดก๊าซเรือนกระจกของไทย รวมถึงต้นทุนในการลดก๊าซเรือนกระจกรายเทคโนโลยี
      • สันติสุขมงคล A Consumption-based Approach for Assessing Sharing Greenhouse Gas Responsibility between Thailand and her Trade Partners

      โสภิดา ทองโสภิต

      • การศึกษามาตรการและผลกระทบจากเศรษฐกิจสีเขียวต่อกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (2567)
      • โครงการพัฒนาเครื่องมือและระบบการประเมิน BCG สำหรับการสนับสนุนผู้ประกอบการ (2567)
      • โครงการแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศไทย (2562)
      • กรอบนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย ฉบับที่ 2 (พศ 2554-2563)
      • Future of Low Carbon Society: Climate Change and Strategies for Economies in APEC beyond 2050 (2549)”

      รศ.ดร. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

      • Green Economy Policy Scoping Report of Thailand: Opportunities and options for macroeconomic and sectoral Policy reform to advance an inclusive green Economy
      • Blue Economic zoning, in Blue Economy: Handbook for Blue Economy Policy in Thailand

      ดร. กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์

      • Reviews of Low Carbon Scenarios, Carbon Neutrality, and Net Zero Emissions in Thailand: Impacts on Greenhouse Gas Emissions and the Macroeconomy (2566)
      • โครงการศึกษาความเหมาะสมในการใช้มาตรการเศรษฐศาสตร์/มาตรการจูงใจเพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน: ด้านการบริโภคที่ยั่งยืน (2564)
      • โครงการสำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ สิบสาม ปฎิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น (2562)
      การประเมินและวิเคราห์พลังงานหมุนเวียน

      ดร. ธงชาติ บวรธำรงชัย

      • Macroeconomic modeling for assessing sustainability of bioethanol production in Thailand

      ดร. ธงชาติ บวรธำรงชัย

      • Effects of Biofuel Crop Expansion on Green Gross Domestic Product

      รศ.ดร. ณัฐพงษ์ พัฒนพงษ์

      ผศ.ดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล

      • Case studies and insights for a roadmap to achieve a 100% RE use in the industrial sector in Thailand
      • Decarbonizing Thailand’s Electricity: a Green Power Development Plan for Thailand

      ดร. ชาริกา ชาญนันทพิพัฒน์

      • Exploring Thai listed companies’ corporate sustainability reporting and the stakeholder involvement in corporate materiality analysis (18-month project)
      • Enhancing sustainability reporting of Thai listed companies (2-year project)
      กลไก ภาษี และตลาดคาร์บอน

      ผศ.ดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล

      • การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ภาษีคาร์บอน เพื่อเป็นแรงจูงใจเชิงเศรษฐศาสตร์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
      • การพัฒนาตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจในระดับอุตสาหกรรม ระยะที่ 3
      • Policy recommendations to support the development and scaling of Thailand’s carbon markets

      รศ.ดร. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

      • Economic incentives for greenhouse gas mitigation in Thailand
      • Carbon Reduction, Reforestation and Income Generation: A Case Study of Thailand” in Charit Tingsabadh

      ดร. กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์

      • การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับประเทศไทย (2554)
      กลไกการเงิน

      รศ.ดร. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

      • Forest Bond for Thailand

      ดร. ชาริกา ชาญนันทพิพัฒน์

      • โครงการวิจัยแนวทางการสนับสนุนสินเชื่อและการออกพันธบัตรเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (2566)
      • Stakeholder engagement of Thailand Taxonomy Phrase 2
      • Climate risk Assessment, transition Strategy and disclosures for the Stock Exchange of Thailand

      ดร. กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์

      • โครงการวิจัยแนวทางการสนับสนุนสินเชื่อและการออกพันธบัตรเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (2566)
      • โครงการศึกษาแนวทางปฏิรูปนโยบายสนับสนุนราคาพลังงานฟอสซิส (2555)

      กิจกรรม

      การประชุมเครือข่ายนักวิจัยนโยบายด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ ครั้งที่ 1

      7 พฤศจิกายน 2566

      ดูเพิ่มเติม...

      วัตถุประสงค์ : เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยเชิงนโยบายที่วิจัยเกี่ยวกับนโยบายหรือเทคโนโลยีด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้พบปะและหารือกันเกี่ยวกับงานวิจัยที่ผ่านมา ช่องว่างด้านงานวิจัยที่จะสนับสนุนให้ประเทศไทยไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำและบรรลุเป้าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) รวมถึงให้ข้อเสนอแนะต่อร่างเอกสารสังเคราะห์องค์ความรู้และผลการวิจัยด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำที่เกิดขึ้นจากการวิจัยเชิงนโยบายที่ผ่านมา (Draft Background Paper)

      การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากองค์กรภาคเอกชน เพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

      10 มกราคม 2567

      ดูเพิ่มเติม...

      เพื่อเปิดโอกาสให้ภาคธุรกิจได้พบปะและหารือกันเกี่ยวกับการดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรทั้งที่ผ่านมา ที่ดำเนินการอยู่ และเป้าหมายในอนาคต ตลอดจนปัจจัยที่เป็นช่องว่างและข้อเสนอแนะต่อการขับเคลื่อนการดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคธุรกิจต่อการไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำและบรรลุเป้าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) รวมถึงให้ข้อคิดเห็นต่อผลการทบทวนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจกที่ผ่านมา เพื่อให้คณะผู้วิจัยนำไปปรับปรุงและจัดทำเอกสารข้อมูลกา ดำเนินการของภาคธุรกิจด้านการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

      Up coming...

      Date