NRCT-Impacts of COVID-19 to Thai society and economy

โครงการประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคมและเศรษฐกิจ

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy

วิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 เป็นปัญหาทางด้านสุขภาพในระดับโลก และส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในระดับสูงในทั้งมิติด้านสังคม และเศรษฐกิจ ทำให้มีผู้คนจำนวนมากได้รับผลกระทบ และวิกฤตการณ์นี้อาจเป็นเพียงวิกฤตการณ์ระยะสั้นเท่านั้น แต่จะส่งผลต่อประเทศยาวนานกว่าช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ด้วย

 

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ศึกษาและประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคมและเศรษฐกิจไทย เพื่อประมวลความรู้ด้านการจัดการชุดนโยบายและมาตรการในการรับมือวิกฤติโรคระบาดโควิด-19 และโรคระบาดที่อาจจะเกิดขึ้นซ้ำอีกในอนาคต โดยได้กำหนดขอบเขตด้านนโยบายสาธารณะออกเป็น 3 ด้านหลัก ได้แก่ นโยบายด้านการแพทย์และสาธารณสุข นโยบายด้านเศรษฐกิจ และนโยบายทางด้านสังคม

ทีมวิจัยฯ จึงขอนำเสนอบทความ การทบทวนวรรณกรรม บทสังเคราะห์ และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในช่วงปี 2563 – 2564 เพื่อเป็นประโยชน์สาธารณะและการศึกษาต่อไป

บทความ / ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปี 2564

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy 2021

โครงการ “การประเมินผลเพื่อถอดบทเรียนการดําเนินการและจัดสรรงบวิจัยของกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) เพื่อรับมือกับการระบาดของโรค Covid-19 ในประเทศไทย”

อ่านเพิ่มเติม

Soft power ไทย เหตุใดจึงยังไม่เวิร์ค

‘Soft power’ หรือ ‘อำนาจละมุน’ ได้กลายมาเป็นวลียอดนิยมทั้งในวงวิชาการและนอกวิชาการเมื่อไม่นานมานี้ หลังเกิดปรากฏการณ์ “ข้าวเหนียวมะม่วงฟีเวอร์” ขึ้น...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ความเหมาะสมของมาตรการลดหย่อนการส่งเงินประกันสังคม

ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการระบาดของโควิด-19 ต่อการจ้างงาน และสภาพคล่องทางการเงินของประชาชนและสถานประกอบการ...

อ่านเพิ่มเติม

ความเห็นทางวิชาการเกี่ยวกับมาตรการเพิ่มสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตนจาก 62% เป็น 75%

การระบาดของ COVID-19 ในประเทศไทยเป็นเรื่องโรคอุบัติใหม่ ที่ทางหน่วยงานของภาครัฐเองก็ไม่ได้กำหนดแผนงาน และมิได้ตั้งงบประมาณล่วงหน้ามาก่อน มาตรการต่าง ๆ...

อ่านเพิ่มเติม

การแพร่ระบาดระลอก 3 สถานการณ์ ผลกระทบและทางออกเชิงนโยบาย

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ได้กลับมาแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางอีกครั้งเป็นระลอกที่สาม ซึ่งเริ่มมีสถิติการติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564...

อ่านเพิ่มเติม

ผลของมาตรการเยียวยาของรัฐบาลจากปัญหาการระบาดของ COVID-19
ที่มีต่อต่อภาคเศรษฐกิจ การมีงานทำและการว่างงาน

ความจำเป็นในการเยียวยาของรัฐบาลเกิดจากผลกระทบของการระบาด COVID-19 ซึ่งก็ไม่ได้เกิดขึ้นในช่วงก่อนปี 2560 ถึง ปี 2562 เนื่องจากเศรษฐกิจยังมีการขยายตัวในแต่ละไตรมาส (รูปที่ 1)...

อ่านเพิ่มเติม

ฟื้นฟูการบินไทย: ทำอย่างไรถึงจะยั่งยืน?

ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจประการหนึ่งที่เกิดขึ้นจากปัญหาโควิด-19 คือ การเดินทางระหว่างประเทศมีจำนวนลดน้อยลงอย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อธุรกิจการบินที่พึ่งพารายได้จากการเดินทางเป็นหลัก...

อ่านเพิ่มเติม

การจัดการ ‘แผลเป็นการศึกษา’ โควิด-19 เพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาส

มีการกล่าวกันมากว่าการระบาดของโควิด-19 จะก่อให้เกิด ‘แผลเป็น’ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการตอกย้ำแนวโน้มการตกงานของกลุ่มแรงงานที่ก้าวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก...

อ่านเพิ่มเติม

ประสิทธิภาพของโครงการจ้างงานเด็กจบใหม่ (Co-payment) จากรัฐบาล

ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในระยะเริ่มแรกต่อประเทศไทยส่วนหนึ่งเกิดจากรายได้หลักของประเทศอย่างการรองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่หายไป...

อ่านเพิ่มเติม

ประมาณการผลของกฏหมายแพ็กเกจมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (American Rescue Plan) ต่อประเทศไทย

ในเดือนมีนาคม 2564 ประธานาธิบดีไบเดนได้ลงนามในกฏหมายแพ็กเกจมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (American Rescue Plan) ในวงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ...

อ่านเพิ่มเติม

ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน...

อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาสังคมจากการระบาดระลอกที่ 3

การเข้าสู่กระบวนการกักตัวและโรงพยาบาลสนามเป็นปัญหาสังคมสำคัญที่เกิดขึ้นจากการระบาดของโรคโควิด-19 ในระลอกที่ 3 จุดเริ่มต้นของการระบาดในครั้งนี้...

อ่านเพิ่มเติม

1.9 ล้านล้านบาท ชดใช้หมดภายในกี่ปี ?

สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้รัฐบาลจำเป็นต้องออก พรก.เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในวงเงิน 1 ล้านล้านบาท และส่วนอีก 9...

อ่านเพิ่มเติม

แนวทางการพยุงเศรษฐกิจระยะสั้นจากวิกฤติแพร่ระบาดของโควิด-19: บทเรียนจาก Cross Country Regression

ในเดือนเมษายนปีพ.ศ. 2564 นับว่าเป็นระยะเวลามากกว่า 1 ปีที่เชื้อไวรัสโควิด-19 ได้เริ่มแพร่ระบาดครั้งแรกที่นครอู่ฮั่น เมืองหลวงมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ.2562...

อ่านเพิ่มเติม

ทางออกให้กับเศรษฐกิจไทยช่วงวิกฤตโควิด ผ่าน 3 มุมมอง

คณะผู้วิจัยได้สรุป 3 แนวคิดที่เป็นทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย ซึ่งมาจากนักเศรษฐศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ดร. พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย (หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์...

อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาค่าขนส่งทางเรือสูงในช่วงโควิด-19

ประเด็นปัญหาเกิดขึ้นจากข้อร้องเรียนของผู้ส่งออกทางเรือ ที่ออกมาสะท้อนปัญหาค่าใช้จ่ายทางเรือที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ค่าขนส่งจากไทยไปประเทศในเอเชียทางเรือในสภาวะปกติจะอยู่ที่ประมาณ...

อ่านเพิ่มเติม

ประเมินมาตรการการเงิน 3.5 แสนล้านบาท

ปัญหาโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจขนาดกลางและย่อมที่จะพบกับสถานการณ์การลดลงของยอดขาย รายได้ และกำไร ทำให้เกิดปัญหาการขาดสภาพคล่องทางธุรกิจ โดยในปี 2020...

อ่านเพิ่มเติม

บทความ / ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปี 2563

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy 2020

โครงการ “การประเมินผลเพื่อถอดบทเรียนการดําเนินการและจัดสรรงบวิจัยของกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) เพื่อรับมือกับการระบาดของโรค Covid-19 ในประเทศไทย”

อ่านเพิ่มเติม

มาตรการอสังหาริมทรัพย์ในช่วงโควิด-19 สำหรับธนาคารภาครัฐ

บทความนี้ เขียนขึ้นเพื่อสะท้อนสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ณ วันที่ 11 กันยายน 2563 เพื่อให้ข้อเสนอแนะผู้กำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารธนาคารรัฐ...

อ่านเพิ่มเติม

ประเด็นสังคมที่ได้รับการร้องเรียนในช่วงวิกฤตโควิด-19

ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นทั้งในทางเศรษฐกิจและสังคม โดยในที่นี้จะได้นำเสนอข้อมูลการเปลี่ยนแปลงประเด็นสังคมที่มีการรับเรื่องโดย ศูนย์ช่วยเหลือสังคม...

อ่านเพิ่มเติม

ประเมินสถานการณ์ระบาดรอบใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2563

การระบาดรอบใหม่ในประเทศไทย เกิดขึ้นในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2563 โดยเป็นการระบาดในกลุ่มแรงงานต่างด้าวที่จังหวัดสมุทรสาคร...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ผลกระทบของโควิด-19 ต่อกลุ่มคนไร้บ้าน

ความสำคัญของกลุ่มคนไร้บ้าน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคส่วนต่างๆ เป็นวงกว้าง กลุ่มคนไร้บ้านเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และพิษเศรษฐกิจ...

อ่านเพิ่มเติม

ติดตามมาตรการการเงินและการคลังที่สำคัญเพื่อรับมือกับวิกฤติโควิด-19 งบประมาณที่เหลือสำหรับการรับมือกับการแพร่ระบาดระลอกใหม่

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปัจจุบัน (22 ธันวาคม 2563) พบว่าประเทศไทยกำลังพบกับการแพร่ระบาดระลอกใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นจากปัญหาการลักลอบเข้ามาในประเทศ...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: วิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ Land Bridge

ข้อมูล ณ วันที่ 4 ตุลาคม 2563[1] กระทรวงคมนาคมมีแนวคิดที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมโยงระหว่างอ่าวไทยกับทะลอันดามัน ผ่านโครงการ Land Bridge...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบของโควิด-19 ต่อการจ้างงานคนพิการและทางออกเชิงนโยบาย

พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 กำหนดให้ตามมาตรา 33 รัฐและสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไปต้องจ้างคนพิการในอัตราส่วน 1:100...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: บทความจากธนาคารแห่งประเทศไทย

นักวิจัยจากธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ออกบทความเรื่อง ทรานส์ฟอร์มลงทุนไทยอย่างไร? ให้ออกจากดักแด้กลายเป็นเสือ[1] ซึ่งเป็นบทความที่เสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทยในขณะนี้ได้อย่างน่าสนใจ...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบ Covid-19 ต่อตลาดแรงงานไทย

Download (PDF, 793KB) รายงาน (บทความ) นี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคมและเศรษฐกิจสนับสนุนโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดย คณะวิจัย TDRI27 พฤศจิกายน...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ 8 ข้อเสนอของกลุ่มผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์

การแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ส่งผลต่อสุขภาพและวิถีชีวิตของประชาชน รวมไปถึงการประกอบธุรกิจและเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ ซึ่งรวมถึงธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยซึ่งในปี 2562...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ “รถเก่าแลกรถใหม่”

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เสนอโครงการรถเก่าแลกรถใหม่เพื่อช่วยกระตุ้นภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และยังเป็นการช่วยลดมลพิษอีกด้วย           ข้อมูล ณ วันที่ 27...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: แกะรอยทางออกของ อ. ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ดร. ประสาร ไตรรัตน์วรกุล เคยดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ขึ้นให้ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ Massive Economic Disruption Risks and Opportunities for IA ในงานสัมมนาใหญ่ประจำปี 2563...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: กรอบ Mckinsey

Mckinsey เป็นองค์กรให้คำปรึกษาที่มีชื่อเสียงในระดับโลก ได้นำเสนอกรอบแนวคิดในการแก้ไขปัญหาสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในช่วงที่เกิดปัญหาโควิด-19 ได้อย่างน่าสนใจ และคณะผู้วิจัยพิจารณาแล้วว่า...

อ่านเพิ่มเติม

กระตุ้นเตือนปัญหาความยากจนเรื้อรัง

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้รายงานสถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำว่า ในปี 2562 สัดส่วนคนยากจนลดลงจาก 9.85% ในปี 2561 มาอยู่ที่ 6.24% ในปี 2562 หรือมีคนจนจำนวน 4.3 ล้านคน ลดลงจาก...

อ่านเพิ่มเติม

ประเมินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ โครงการคนละครึ่ง และโครงการช็อปดีมีคืน

ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในวงกว้าง ทำให้ภาครัฐออกมาตรการเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของประชาชนให้เงินมีการหมุนเวียนขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ โครงการคนละครึ่ง และโครงการช็อปดีมีคืน...

อ่านเพิ่มเติม

ฉากทัศน์ด้านการท่องเที่ยวหลังจากที่เริ่มมีข้อมูลวัคซีนที่ประสบความสำเร็จ

ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2563 ประชาคมโลกเริ่มได้รับข่าวดี เมื่อบริษัทวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด-19 เริ่มพบหลักฐานความสำเร็จที่เพียงพอที่จะนำมาใช้แบบเร่งด่วน ซึ่งต้องเข้าใจเสียก่อนว่าโดยปกติแล้ว...

อ่านเพิ่มเติม

เหลียวหลังประเทศไทยกับการจัดการโควิด-19 ด้วยวาทกรรมที่ว่า “สุขภาพต้องมาก่อนเสรีภาพ

โควิด-19 เป็นปรากฏการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมนุษยชาติในทุกมิติ ส่งผลร้ายแรง และขยายวงกว้างไปทั่วทุกแห่งทั่วโลก ผู้คนต่างหวาดกลัวโรคภัยสายพันธุ์ใหม่ที่ยังคงแพร่ระบาดอย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลให้หลายๆ...

อ่านเพิ่มเติม

ประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจ หลังการระบาดครั้งแรก

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ได้เข้ามาสู่ประเทศไทยนับตั้งแต่การค้นพบผู้ติดเชื้อรายแรกในไทยจากต่างประเทศ ณ วันที่ 13 มกราคม 2563[1] จนถึงปัจจุบัน...

อ่านเพิ่มเติม

ประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคม หลังการระบาดครั้งแรก

บทความนี้ เขียนขึ้นเพื่อประเมินผลกระทบทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการระบาดในรอบที่ผ่านมา ซึ่งในปัจจุบัน อาจจะกล่าวได้ว่าการระบาดในระลอกแรกน่าจะถึงจุดสิ้นสุดแล้วอย่างเป็นทางการ...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์การต่ออายุ พรก. ฉุกเฉิน

นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโควิด-19 เข้ามาในประเทศไทย รัฐบาลได้ประกาศการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พรก. ฉุกเฉิน ซึ่งได้เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563[1]...

อ่านเพิ่มเติม

โจทย์สำหรับทีมเศรษฐกิจใหม่

การลาออกของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายอุตตม สาวนายน เมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2562[1] ทำให้ตำแหน่งผู้นำทีมเศรษฐกิจของประเทศทางด้านการคลังต้องมีการเปลี่ยนสลับหาคนใหม่ขึ้นแทน พร้อมๆกันนั้น นายวีรไท...

อ่านเพิ่มเติม

บทเรียนวิกฤติโควิด-19 จากสิงคโปร์

มาตรการเยียวยาช่วยเหลือแรงงานของประเทศสิงคโปร์ ประกอบด้วยโครงการอุดหนุน 4 โครงการ เงินอุดหนุนเงินเดือน (Jobs Support Scheme (JSS))อุดหนุนการจ้างงาน (Jobs Growth Incentive...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบโควิด-19 ต่อการจ้างงานในภาคบริการของประเทศไทย

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และมาตรการรับมือของรัฐบาลต่อปัญหาการมีงานทำและการว่างงานของแรงงานภาคบริการ โดยนำเสนอผลการศึกษา 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1...

อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาเด็กยากจนพิเศษ

สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาหลังจากเกิดโรคระบาดโควิด-19 เห็นได้จากสถิติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) พบว่าในภาคเรียนที่ 1/2563 มีนักเรียนยากจน 1.7 ล้านคน...

อ่านเพิ่มเติม

รายชื่อทีมวิจัย 

ดร.นณริฏ พิศลยบุตร (หัวหน้าโครงการ)
ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง (ผู้ร่วมวิจัย)
ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสิน (ที่ปรึกษาโครงการ)
ศ.ดร.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์ (ที่ปรึกษาโครงการ)

 

ภาคีจากหน่วยงานภายนอก

ผศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ.ดร.ปิยะพรรณ ช่างวัฒนชัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.ตรีนุช ไพชยนต์วิจิตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เกียรติศักดิ์ จันทร์แก้ว มหาวิทยาลัยมหิดล
จิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักศึกษาระดับปริญญาเอก Kyoto University

 

คณะวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ดร.สมชัย จิตสุชน
ดร.สุเมธ องกิตติกุล
ดร.บุญวรา สุมะโน เจนพึ่งพร
ดร.สลิลธร ทองมีนสุข
ดร.กิริฎา เภาพิจิตร
สุนันท์ พุ่มคำ
ราตรี ประสมทรัพย์
ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์
วุฒิพงษ์ ตุ้นยุทธ์
สรัลชนา ธิติสวรรค์
สิรวิชญ์ รัตนประทีปทอง
ณัฐนันท์ อมรานันทศักดิ์
เยาวลักษณ์ จันทมาศ
นันทพร เมธาคุณวุฒิ
เทียนสว่าง ธรรมวณิช

รศ.ดร.ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์
ดร.กิรติพงศ์ แนวมาลี
ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร
วัชรินทร์ ตันติสันต์
พนธกร วรภมร
โชคชัยชาญ วิโรจน์สัตตบุษย์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ธรรมรัตน์ บุญเจริญพรสุข
พรปวีณ์ ลีรพงษ์กุล
ชวัลรัตน์ บูรณะกิจ
ภวินทร์ เตวียนันท์
พร้อมพัฒน์ ภูมิวัฒน์
ยศ วัชระคุปต์

logo

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
565 ซอยรามคำแหง 39 (เทพลีลา) เขตวังทองหลาง กรุงเทพ 10310
โทรศัพท์ 02-718-5460 โทรสาร 02-718-5461-2

cc-icon

สงวนลิขสิทธิ์ เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต
Creative Commons ดูรายละเอียดสัญญา   เว็บโดย: ไวไวซอฟต์