NRCT-Impacts of COVID-19 to Thai society and economy

โครงการประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคมและเศรษฐกิจ

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy

วิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 เป็นปัญหาทางด้านสุขภาพในระดับโลก และส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในระดับสูงในทั้งมิติด้านสังคม และเศรษฐกิจ ทำให้มีผู้คนจำนวนมากได้รับผลกระทบ และวิกฤตการณ์นี้อาจเป็นเพียงวิกฤตการณ์ระยะสั้นเท่านั้น แต่จะส่งผลต่อประเทศยาวนานกว่าช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ด้วย

 

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ศึกษาและประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อสังคมและเศรษฐกิจไทย เพื่อประมวลความรู้ด้านการจัดการชุดนโยบายและมาตรการในการรับมือวิกฤติโรคระบาดโควิด-19 และโรคระบาดที่อาจจะเกิดขึ้นซ้ำอีกในอนาคต โดยได้กำหนดขอบเขตด้านนโยบายสาธารณะออกเป็น 3 ด้านหลัก ได้แก่ นโยบายด้านการแพทย์และสาธารณสุข นโยบายด้านเศรษฐกิจ และนโยบายทางด้านสังคม

ทีมวิจัยฯ จึงขอนำเสนอบทความ การทบทวนวรรณกรรม บทสังเคราะห์ และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในช่วงปี 2563 – 2564 เพื่อเป็นประโยชน์สาธารณะและการศึกษาต่อไป

บทความ / ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปี 2564

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy 2021

วิเคราะห์ผลกระทบของโควิด-19 ต่อธุรกิจสปา ธุรกิจร้านตัดผม และแรงงานในระบบ

สืบเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้ภาครัฐออกนโยบาย Lockdown ขึ้น และธุรกิจกลุ่มแรกๆ ที่ได้รับผลกระทบจากการ Lockdownเสมอ คือ ธุรกิจสปาและการนวด และธุรกิจตัดแต่งผม ในที่นี้...

อ่านเพิ่มเติม

สถานการณ์หนี้และจุดเปราะบางเป็นพิเศษ

คณะผู้วิจัยได้อาศัยข้อมูลสถานะของสินเชื่อเพื่อสะท้อนถึงความเปราะบางของเศรษฐกิจสำหรับผู้กู้และธุรกิจ โดยอาศัยข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยในการวิเคราะห์ ในการประเมินครั้งนี้...

อ่านเพิ่มเติม

เศรษฐกิจการเมืองเรื่องวัคซีน

การบริหารจัดการความเสี่ยงเรื่องวัคซีนเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาโควิด-19 ถือเป็นประเด็นสำคัญ เนื่องจากการเกิดขึ้นของภูมิคุ้มกันจากวัคซีน น่าจะเป็นทางออกในการหยุดยั้งการแพร่ระบาดที่ดีที่สุด ณ...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์มหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทย

มหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นมาตรการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยริเริ่มให้มีการดำเนินการเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดการผิดชำระหนี้ในวงกว้าง...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ผลกระทบของของโควิด-19 ต่อธุรกิจท่องเที่ยว

1. ความสำคัญของธุรกิจท่องเที่ยวในแง่ของผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ-สังคมจากโควิด-19           สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์มาตรการช่วยเหลือรอบใหม่

ข้อมูล ณ วันที่ 29 มกราคม 2564 พบว่าภาครัฐได้ออกมาตรการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิดระลอกใหม่ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้  1. มาตรการลดค่าครองชีพ...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบโควิดต่อแรงงานต่างชาติ

ช่วงหลังเกิดการระบาดของโควิด-19 ประมาณ 6 เดือน (มิถุนายน 2563) จำนวนแรงงานต่างชาติ ประชากรแรงงานต่างชาติลดลงต่อเนื่อง โดยยอดรวมการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 545,591 คนคิดเป็นร้อยละ 18...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อคิดเห็นเรื่องยุทธศาสตร์การจัดหาวัคซีนของไทย

ช่วงนี้มีการตั้งประเด็นมากมายเรื่องความเหมาะสมหรือความโปร่งใสในนโยบายการจัดหาวัคซีนของประเทศไทย ขออนุญาตให้ความเห็นในฐานะที่ใกล้ชิดระดับหนึ่งกับกระบวนการนี้ในช่วงเกือบ 1 ปีที่ผ่านมา...

อ่านเพิ่มเติม

ติดตามประเด็นด้านแรงงานและสวัสดิการสังคม

ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด -19 ทำให้ประชากรส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบด้านการเงิน จนต้องพึ่งพาสวัสดิการสังคมมากขึ้น แต่สวัสดิการสังคมของไทยยังมีปัญหาด้านคุณภาพและความทั่วถึงกลุ่มประชากร...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ผลกระทบของโควิด-19 ต่อกลุ่มสถาบันการศึกษาที่รับนักศึกษาต่างชาติ

จากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทยตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 เป็นต้นมา ส่งผลให้การเดินทางเข้า-ออกประเทศของนักศึกษาต่างชาติที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: แนวคิดเรื่องการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยใช้ ลอตเตอรี่ใบเสร็จ

ด้วยเศรษฐกิจของไทยมีธุรกิจที่อยู่นอกระบบภาษีเป็นจำนวนมาก จึงมีแนวคิดที่จะดึงธุรกิจร้านค้าต่างๆเข้ามาอยู่ในระบบภาษีมากขึ้น ด้วยแนวความคิดวิธีการต่างๆ ตั้งแต่การออกกฎหมายบังคับ...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์มาตรการทางเลือกในการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดระลอกใหม่

การออกแบบนโยบายเพื่อช่วยเหลือกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดรอบใหม่ ควรจะต้องพิจารณาใน 2 ระดับ โดยในระดับแรก จะต้องพิจารณาก่อนว่าภาครัฐควรที่จะต้องเข้าไปช่วยเหลือหรือไม่?...

อ่านเพิ่มเติม

บทความ / ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปี 2563

A study on the impacts of COVID-19 to Thai society and economy 2020

เศรษฐศาสตร์ของวันหยุด

มาตรการหนึ่งที่ภาครัฐนำมาใช้ในการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 คือการประกาศเพิ่มวันหยุด ซึ่งมุ่งหวังเพื่อที่จะให้ประชาชนเดินทางไปท่องเที่ยว และมีการจับจ่ายใช้สอยมากยิ่งขึ้น[1]...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบของโควิด-19 ต่อการจ้างงานผู้สูงอายุ

          กลุ่มผู้สูงอายุ นับเป็นกลุ่มเปราะบางทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ยิ่งส่งผลกระทบต่อผู้อายุอย่างมาก...

อ่านเพิ่มเติม

มาตรการในการป้องกันและแก้ปัญหาด้านแรงงานอันเนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19

การเสนอมาตรการในการป้องกันและแก้ปัญหาด้านแรงงานจากการระบาดของโควิด-19 ครั้งนี้เป็นรายงานที่รวบรวมข้อเสนอแนะด้านแรงงานที่เคยนำเสนอภายใต้โครงการประเมินผลกระทบของโควิด-19...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ปัญหางบประมาณล่าช้า

ด้วยความล่าช้าของการใช้งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2564 ส่งผลให้ประชาชนและธุรกิจเกิดความกังวลใจกับปัญหาความล่าช้าของงบประมาณปี 2564 ว่าอาจจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคม...

อ่านเพิ่มเติม

ความเสี่ยงของการแพร่ระบาดจากแรงงานต่างด้าวที่ลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย

ตั้งแต่ช่วงมีการแพร่ระบาดโควิด-19 ในไทย เมื่อต้นปี 2563 แรงงานต่างชาติ 3 สัญชาติในไทยมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่องเนื่องจากการเลิกจ้างของกิจการที่ได้รับผลกระทบจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ...

อ่านเพิ่มเติม

สถานการณ์การจ้างงาน ณ เดือน มิถุนายน 2563

การติดตามสถานการณ์การจ้างงานกลางปี คือ เดือนมิถุนายน 2563 หลังจากมีการบังคับใช้มาตราการเพื่อแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบของโควิด-19 ต่อครัวเรือนเด็กเล็ก

โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อกลุ่มเปราะบางที่สำคัญ คือ ครัวเรือนเด็กเล็ก โดยองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า เด็กไทยจำนวนมากอยู่ในสถานะยากจนในประเทศไทย...

อ่านเพิ่มเติม

5 ประเด็นระยะกลางที่ควรจับตามอง

คณะผู้วิจัยได้ทำการประชุมภายในสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของผู้บริหารสถาบัน ซึ่งประกอบไปด้วย คณะกรรมการบริหารสถาบัน...

อ่านเพิ่มเติม

โครงการ 4 แสนล้าน: กรอบแนวทางที่ควรจะเป็น

โรคระบาดโควิด-19 ได้ส่งผลเสียอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจไทยในระยะสั้นอันเนื่องมาจากสาเหตุหลักจากมาตรการการควบคุมการแพร่ระบาดหรือมาตรการล็อกดาวน์ที่ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงักลงโดยจากการคำนวณของ...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบ โควิด-19 ที่มีต่อเศรษฐกิจและการจ้างงาน : กรณีศึกษาแรงงานหญิง

ผลกระทบจากการระบาดของ โควิด-19 เกิดขึ้นเกือบทุกประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยไม่เลือกชนชั้นวรรณะและเพศ ซึ่งผู้เขียนให้ความสนใจเป็นพิเศษว่าผู้หญิงจะได้รับผลกระทบมากน้อยเพียงใดจากการระบาดดังกล่าว...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบของการปิดโรงเรียนช่วงโควิด-19 ต่อพัฒนาการเด็ก

งานวิจัยในอดีตพบว่าการขาดเรียน การปิดเทอม หรือโรงเรียนมีความจำเป็นที่ต้องปิดลงเพราะเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทำให้การเรียนรู้ของเด็กถดถอยลง( Liu et al., 2020; Hansen,...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: ตลาดนัดสี่มุมเมือง และ OTOP goes digital

จากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้มีคนว่างงาน/เสมือนว่างงานเป็นจำนวนมาก ทางออกหนึ่งคือการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน โดยเฉพาะการทำมาค้าขายในกลุ่มชุมชน...

อ่านเพิ่มเติม

ฉากทัศน์ใหม่ของการแพร่ระบาดโควิด-19 ในไทย

 ฉากทัศน์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ณ จุดเริ่มต้นของโครงการ (22 เมษายน 2563) พบว่าการแพร่ระบาดน่าจะสิ้นสุดภายในระยะเวลา 1 ปี ครึ่ง...

อ่านเพิ่มเติม

6 มิติความเปราะบางระดับจังหวัด ในวิกฤติโควิด-19

ด้วยสถานการณ์โควิด-19 ที่ส่งผลกระทบทั้งในภาคเศรษฐกิจและภาคสังคม ได้ส่งผลกระทบต่อผู้คนจำนวนมาก โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางในด้านต่างๆ ที่พื้นฐานเดิมต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น เช่น ผู้มีรายได้น้อย...

อ่านเพิ่มเติม

ติดตามมาตรการการเงินและการคลังที่สำคัญเพื่อรับมือกับวิกฤติโควิด-19 ในระลอกแรก

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ โดยภาครัฐได้ออกมาตรการฉุกเฉินเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด...

อ่านเพิ่มเติม

การจ้างงานแรงงานรายชั่วโมงในช่วงวิกฤติโควิด-19

เมื่อเชื้อโควิด-19 เริ่มแพร่ระบาดในประเทศไทยครั้งแรกจากกรณีคนขับแทกซี่ติดเชื้อในประเทศไทยในเดือนมกราคม พ.ศ.2562 ส่งผลให้รัฐบาลดำเนินนโยบายต่าง ๆ...

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเสนอทางออกให้กับเศรษฐกิจไทย: ข้อเสนอต่อนโยบายการเงิน การคลัง เศรษฐกิจภายในและนอกประเทศ

คณะผู้วิจัย รวบรวมประเด็นจากการประชุมกับผู้ทรงคุณวุฒิใน 6 ครั้งที่ผ่านมา (การประชุมกับผู้ทรงคุณวุฒิจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)...

อ่านเพิ่มเติม

สมดุลระหว่างการเปิดการท่องเที่ยวกับการคุมการระบาด

หลังจากมีประสบการณ์การระบาดและการควบคุมการระบาดของโควิด-19 มาปีเศษ หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยเหมือนะเริ่มมีการ ‘ตกผลึกทางความคิด’ ว่าควรบริหารจัดการอย่างไร...

อ่านเพิ่มเติม

ผลกระทบ Covid-19 ต่อตลาดแรงงานไทยยังน่าเป็นห่วงในปี 2564

การระบาดของ COVID-19 รอบ 3  การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในหลาย ๆ ด้าน อาทิ ทำให้ภาวะเศรษฐกิจถดถอย...

อ่านเพิ่มเติม

ติดตามสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ: การปิดสถานประกอบการ ตลาดหุ้น ค่าเงินและอัตราการว่างงาน

ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2563 ทั้งโลกมีผู้ติดเชื้อติดเชื้อโควิด-19 สะสมจำนวน 14.72 ล้านคน โดยผู้เสียชีวิตรวมแล้วประมาณ 6 แสนคน ในขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สะสม 3,250 คน...

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาคท่องเที่ยวและมาตรการสนับสนุนการท่องเที่ยว

ความสำคัญของภาคการท่องเที่ยวไทย  โครงสร้างการผลิตทางเศรษฐกิจสามารถแบ่งออกได้เป็นสามภาคได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคบริการ...

อ่านเพิ่มเติม

รายชื่อทีมวิจัย 

ดร.นณริฏ พิศลยบุตร (หัวหน้าโครงการ)
ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง (ผู้ร่วมวิจัย)
ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสิน (ที่ปรึกษาโครงการ)
ศ.ดร.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์ (ที่ปรึกษาโครงการ)

 

ภาคีจากหน่วยงานภายนอก

ผศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ.ดร.ปิยะพรรณ ช่างวัฒนชัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.ตรีนุช ไพชยนต์วิจิตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เกียรติศักดิ์ จันทร์แก้ว มหาวิทยาลัยมหิดล
จิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักศึกษาระดับปริญญาเอก Kyoto University

 

คณะวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ดร.สมชัย จิตสุชน
ดร.สุเมธ องกิตติกุล
ดร.บุญวรา สุมะโน เจนพึ่งพร
ดร.สลิลธร ทองมีนสุข
ดร.กิริฎา เภาพิจิตร
สุนันท์ พุ่มคำ
ราตรี ประสมทรัพย์
ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์
วุฒิพงษ์ ตุ้นยุทธ์
สรัลชนา ธิติสวรรค์
สิรวิชญ์ รัตนประทีปทอง
ณัฐนันท์ อมรานันทศักดิ์
เยาวลักษณ์ จันทมาศ
นันทพร เมธาคุณวุฒิ
เทียนสว่าง ธรรมวณิช

รศ.ดร.ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์
ดร.กิรติพงศ์ แนวมาลี
ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร
วัชรินทร์ ตันติสันต์
พนธกร วรภมร
โชคชัยชาญ วิโรจน์สัตตบุษย์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ธรรมรัตน์ บุญเจริญพรสุข
พรปวีณ์ ลีรพงษ์กุล
ชวัลรัตน์ บูรณะกิจ
ภวินทร์ เตวียนันท์
พร้อมพัฒน์ ภูมิวัฒน์
ยศ วัชระคุปต์

logo

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
565 ซอยรามคำแหง 39 (เทพลีลา) เขตวังทองหลาง กรุงเทพ 10310
โทรศัพท์ 02-718-5460 โทรสาร 02-718-5461-2

cc-icon

สงวนลิขสิทธิ์ เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต
Creative Commons ดูรายละเอียดสัญญา   เว็บโดย: ไวไวซอฟต์